Autodesk | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Building Solutions | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Autodesk Revit | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อ้างอิง ขอขอบคุณ :http://www.pesik.com |
Learn command, AutoLISP, Problem AutoCAD, การใช้งาน AutoCAD หลากหลายความรู้หลากหลายปัญหา ร่วมแก้ไขแบ่งปันปัญหาแห่ง CAD การรวมกันคิด สามารถทำให้ผ่านพ้นไปได้ และหาแนวทางแก้ปัญหาได้เกือบทุกปัญหา ลุงธี57
Software of Autodesk
อีกหนึ่ง AutoLISP ที่ใช้วัดรวมความยาวของเส้น - bomlengths.lsp
bomlengths.lsp เขียนขึ้นโดย By Jimmy Bergmark ปี 2007 มีประโยชน์มากในการวัดระยะรวมของเส้นต่างๆ ที่วางพาดระเกระกะ เต็มไปหมดจนตาลาย ผมเคยใช้วัดรวมความยาวของเส้นแบ่ง Joint ถนนมาก่อนครับ กับโครงการที่มีเส้นแบ่งพื้นถนนที่เยอะๆหลายแนว ที่หลายแนวเพราะวางเองกะมือก็เลยเยอะครับ
การรวมเส้นใน AutoCAD เพื่อประโยชน์ในการวัดความยาวทั้งหมด
ในการทำงานบางครั้งจำเป็นที่จะต้องวัดความยาวของเส้นที่เขียน
ซึ่งหากวัดความยาวของเส้นเพียงเส้นเดียวคงทำให้โดยการใช้คำสั่ง Distance
แล้วกำหนดจุด 2 จุด ก็จะได้ระยะทางหรือความยาวของเส้นแล้ว
หากเส้นที่เราต้องการที่จะวัดความยาวเกิดมีมากหล่ะ เอาแค่มากกว่า 50 เส้น
แค่คิดก็เหนื่อยแล้วครับ
การรวมเส้นจาก Line ธรรมดาให้เป็น Polyline หรือเส้นต่อเนื่องจึงเป็นประโยชน์ในการวัด
ความยาวของเส้นครับ ก็เป็นหนทางหนึ่ง
การใช้คำสั่ง PEDIT (Polyline Edit) แล้ว Joint เพื่อรวมเส้น หรือต่อเส้น ให้เป็นเส้นต่อเนื่อง
แล้วทำการวัดความยาวโดยใช้คำสั่ง List เราก็จะรู้ความยาวของเส้นได้
หากเส้นอยู่ต่างตำแหน่งและไม่สามารถ Joint เส้นให้เป็น Pline ได้ล่ะ
ลองโหลดไปใช้ดูได้ครับ เดิมทีจะต้องพิมพ์คำสั่งยาวไปหน่อย คือต้องพิมพ์ bomlengths ถึงจะใช้ได้ในแต่ละครั้ง ผมได้เพิ่ม (defun C:boo ()(load "boml") (c:bomlengths)) เข้าไปที่บรรทัดล่างสุด เพื่อให้ได้ใช้คำสั้งที่สั้นลงกระชับ ง่ายกว่าเดิมครับ เมื่อโหลดไฟล์แล้วพิมพ์คำสั่ง boo ก็ใช้คำสั่งได้ ไม่ต้องพิมพ์คำสั่งยาวๆแบบ bomlengths ครับแต่ใครชอบยาวๆ ก็ใช้ได้ครับ
ลอง ดาวน์โหลด BOML ไปใช้ดูกันนะครับ
แก้ไขลิ้งค์ให้ใหม่แล้วนะครับ
การสร้าง Attibute Block ไม่ยากอย่างที่คิด
ผมใช้โปรแกรมมานานโดยตั้งแต่เริ่มใช้ก็ 2.14 โน้นแล้ว สิ่งที่ศึกษาเป็นอันดับต้นๆคือคำสั่งต่างๆ โดยจะไล่เรียงคำสั่งในแต่ละชุดออกมาใช้งาน และก็มีคำสั่งเขียนแผ่นป้าย Attibute นี่แหล่ะที่มีรายละเอียดชวนให้งง สับสนกับการใช้งานให้ถูกต้อง เพราะมันมีให้ตั้งค่าอะไรต่างๆมากมาย แต่ตอนนี้ผมว่าคำสั่งนี้ไม่ได้ยากเลย ถ้าเรารู้จักใช้มัน เพราะที่ใช้งานกันส่วนมากก็เพียงแค่เพื่อให้แก้ไขตัวอักษรที่อยู่ภายในเท่านั้น ส่วนไอ้ที่จะติดรายละเอียดลึกๆข้างใน เพื่อสกัดเอาค่าออกมาใช้นั้นช่างมีน้อยเสียเหลือเกิน เพราะฉะนั้นเราคงไม่ไปสนใจรายละเอียดที่มากมายขนาดนั้น วิธีการง่ายเลยที่ผมมักจะใช้เสมอตั้งแต่โบราณจนปัจจุบันต่างกันที่ Version 2.14 จะเป็น command line อย่างเดียวต้องตอบที่ละบรรทัด แต่เดี๋ยวนี้มี Dialogbox เข้ามาช่วยอำนวยความสะดวกขึ้นเยอะเลย จริงๆนะ
Prompt - จริงๆแล้วก็คือตัวที่เราจะตั้งข้อมูลบอกที่เกี่ยวกับแผ่นป้าย เช่น Project name, Number, Work หรืออื่นที่สามารถระบุแผ่นป้ายได้ นึกอะไรไม่ออก พิมพ์ XXX: ไปครับ
Default - อันนี้คือการกำหนดค่าคงที่ให้กับแผ่นป้าย ในกรณีที่เราใช้ค่าข้อความที่เหมือนกันมากในหลายชุด เราก็ใส่ค่าลงไปที่นี้ครับ เช่นประเภทงานที่เขียนเราอาจจะใส่เป็นโค้ดได้ : AR,ST,SN หรือ อาจจะใส่เป็นจำนวนรวมทั้งทั้งของงานก็ได้ เป็นตัวเลขไปเลย เช่น 69 , 96 (อย่าไปคิดมากนะครับ แค่ตัวอย่างเท่านั้นเอง) แต่ถ้ายังนึกอะไรไม่ออกก็พิมพ์ 18+ ไปก่อนครับ
เพียงเท่านี้เราก็คลิ๊ก OK ครับ
3. โปรแกรมได้รับค่าแล้วก็จะให้เรากำหนดตำแหน่งของแผ่นป้ายว่าจะว่างมันที่ตรงไหน คลิ๊กไปเลยครับตรงไหนก่อนก็ได้ แล้วค่อยมา Move เคลื่อนมันทีหลัง
4. แล้วเราก็ทำให้มันเป็น Block ครับจะเป็นภายนอก Wblock หรือภายใน Block ธรรมดาก็ได้ ให้ชื่อว่า X ก็แล้วกัน
5.ใช้คำสั่ง Insert ดึงบล็อกชื่อ X เข้ามาใช้งานครับ จะมีไดอะล็อกบล็อกให้ใส่ค่าของแผ่นป้ายเท่านี้ก็เรียบร้อยครับ
ถ้าไม่มีไดอะล็อกบล็อกขึ้นมาให้แก้ไข ให้ตั้งค่า Setvar ดังนี้ พิมพ์ ATTDIA ที่ Command line : พิมพ์ค่าเป็น 1 เพื่อเปิดใช้งานครับ แล้วลอง Insert ดูอีกครั้ง (นั่นไง มาแล้วใช่ม่ะ)
คำสั่งแก้ไขแผ่นป้ายคือ : DDATTE ( คงจะมาจาก Dialog block attibute edit ครับ )
*การใช้คำสั่งเปิดไฟล์ Open จะใช้ Filedia เป็นค่าตัวแปรระบบควบคุมกล่องโต้ตอบ หากเป็นค่า 0 ก็จะไม่ขึ้นกล่องมาให้เลือกครับ*
ในส่วนของคุณสมบัติของตัวอักษรก็ใช้ Property object แก้ไขได้เหมือนข้อความทั่วไปครับ ง่ายกว่ากันเยอะ
ช่องทางการปรับแก้ไขข้อมูลในแผ่นป้าย Tag Attibute ตามด้านล่างนี้ครับ
เรียบร้อย
- พิมพ์คำสั่งที่ Command line : DDATTDEF (คำสั่งเต็มย่อมาจาก Dialog attibute define แปลกันตรงๆเลยก็คือ เปิดไดอะล็อกบล็อกเพื่อกำหนดแผ่นป้าย ตรงไปหรือเปล่าไม่รู้ อิอิ )
- จะปรากฎไออะล็อกบล็อกขึ้นมา ไม่ต้องไปสนใจอะไรมากกับค่าต่างๆ ให้ใช้ค่า Tag , Prompt , และ Default ก็เพียงพอ ไม่ต้องไปตั้งค่าใน Mode หากไม่ต้องการซ่อนมัน
Prompt - จริงๆแล้วก็คือตัวที่เราจะตั้งข้อมูลบอกที่เกี่ยวกับแผ่นป้าย เช่น Project name, Number, Work หรืออื่นที่สามารถระบุแผ่นป้ายได้ นึกอะไรไม่ออก พิมพ์ XXX: ไปครับ
Default - อันนี้คือการกำหนดค่าคงที่ให้กับแผ่นป้าย ในกรณีที่เราใช้ค่าข้อความที่เหมือนกันมากในหลายชุด เราก็ใส่ค่าลงไปที่นี้ครับ เช่นประเภทงานที่เขียนเราอาจจะใส่เป็นโค้ดได้ : AR,ST,SN หรือ อาจจะใส่เป็นจำนวนรวมทั้งทั้งของงานก็ได้ เป็นตัวเลขไปเลย เช่น 69 , 96 (อย่าไปคิดมากนะครับ แค่ตัวอย่างเท่านั้นเอง) แต่ถ้ายังนึกอะไรไม่ออกก็พิมพ์ 18+ ไปก่อนครับ
เพียงเท่านี้เราก็คลิ๊ก OK ครับ
3. โปรแกรมได้รับค่าแล้วก็จะให้เรากำหนดตำแหน่งของแผ่นป้ายว่าจะว่างมันที่ตรงไหน คลิ๊กไปเลยครับตรงไหนก่อนก็ได้ แล้วค่อยมา Move เคลื่อนมันทีหลัง
4. แล้วเราก็ทำให้มันเป็น Block ครับจะเป็นภายนอก Wblock หรือภายใน Block ธรรมดาก็ได้ ให้ชื่อว่า X ก็แล้วกัน
5.ใช้คำสั่ง Insert ดึงบล็อกชื่อ X เข้ามาใช้งานครับ จะมีไดอะล็อกบล็อกให้ใส่ค่าของแผ่นป้ายเท่านี้ก็เรียบร้อยครับ
ถ้าไม่มีไดอะล็อกบล็อกขึ้นมาให้แก้ไข ให้ตั้งค่า Setvar ดังนี้ พิมพ์ ATTDIA ที่ Command line : พิมพ์ค่าเป็น 1 เพื่อเปิดใช้งานครับ แล้วลอง Insert ดูอีกครั้ง (นั่นไง มาแล้วใช่ม่ะ)
คำสั่งแก้ไขแผ่นป้ายคือ : DDATTE ( คงจะมาจาก Dialog block attibute edit ครับ )
*การใช้คำสั่งเปิดไฟล์ Open จะใช้ Filedia เป็นค่าตัวแปรระบบควบคุมกล่องโต้ตอบ หากเป็นค่า 0 ก็จะไม่ขึ้นกล่องมาให้เลือกครับ*
ในส่วนของคุณสมบัติของตัวอักษรก็ใช้ Property object แก้ไขได้เหมือนข้อความทั่วไปครับ ง่ายกว่ากันเยอะ
ช่องทางการปรับแก้ไขข้อมูลในแผ่นป้าย Tag Attibute ตามด้านล่างนี้ครับ
Button
Ribbon: Home tabBlock
panelEdit
Single Attribute
Menu: ModifyObjectAttributeSingle
Toolbar: Modify
II
Command entry: eatteditเรียบร้อย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
คลังบทความของบล็อก
ป้ายกำกับ
ของหาย
คำสั่งย่อ
คำสั่ง AutoCAD ที่ควรรู้
คีย์ลัด ใน AutoCAD
ณ ที่แห่งนี้
ฟอนท์ภาษาไทย
โลโก้โปรแกรม AutoCAD
วัดความยาวเส้น
ac$
acad.fas
acad.lsp
acad.pgp
acad.vlx
Alias
annotation scale
Attibute
AutoCAD
AutoCAD Command
AutoCAD error
AutoLISP
Autosave
Backup
Block
Block AutoCAD
CAD error
cad.fas
Can not OPEN FILE
close wcs icon
Command
Command autocad
Commandline
CUI
DBLCLKEDIT
Dimension
Dimspace
Draft Setting
DTEXTED
edit text
External Referances
FATAL ERROR
File autocad
Find text
Fix F8
font autocad
FS
Function Key
Game
HATCH
Hatch error
Isomatric
Key
LISP
logo AutoCAD
LSP
Menubar
Missing
Modelspace
Navvcube
Object Snap
Option
Ortho Key
Osnap
Osnap error
overkill
page setup
panels
Paperspace
perpendicular
PRODUCED BY AN AUTODESK EDUCATION PRODUCT
Recovery
Release
Ribbon
Rtext
Scale
Seclect Mode
Select Command
Setvar
Shortcut Key
System Variables
Thai Font for AutoCAD
Tip & Trick
Toolbar หาย
Turn off Start Tab
Unisolate
Variable
Version
Viewport
Virus
Virus AutoLISP
Wblock
XREF
Xref AutoCAD